|
|
เทคนิคการแก้ไขข้อมูลใน Mysql
จัดทำโดย : Mr.GuruZ |
|
|
:: WebThaiDD.COM - ขุมทรัพย์ทางปัญญาของคนไทย •))) ------------
เทคนิคการแก้ไขข้อมูลใน Mysql ในการแก้ไขนั้นเราจะต้องสร้าง
Form เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้เวลาที่ลูกค้ากรอกข้อมูล ขั้นตอยการทำมีดังนี้
ขั้นตอนการทำ
1. ให้เราสร้างตารางขึ้นมาก่อน ด้วยคำสั่ง SQL โดยสร้างลงใน Database : test
CREATE TABLE customer (
id int(11) NOT NULL auto_increment,
name char(30) NOT NULL,
surname char(30) NOT NULL,
address char(150) NOT NULL,
tel char(20) NOT NULL,
PRIMARY KEY (id)
);
INSERT INTO customer VALUES ( '1', 'aaaa', 'sur aa', 'test/1', '01-1111111');
INSERT INTO customer VALUES ( '2', 'bbbb', 'sur bb', 'test/2', '01-2222222');
INSERT INTO customer VALUES ( '3', 'cccc', 'sur cc', 'test/3', '01-3333333');
INSERT INTO customer VALUES ( '4', 'dddd', 'sur dd', 'test/4', '01-4444444');
INSERT INTO customer VALUES ( '5', 'eeee', 'sur ee', 'test/5', '01-5555555'); |
2. หลังจากที่เราสร้างฐานข้อมูลแล้วให้เราสร้างไฟล์แสดงผลข้อมูลจากฐานข้อมูล show.php
<?php
//กำหนดตัวแปรเพื่อนำไปใช้งาน
$hostname = "localhost"; //ชื่อโฮสต์
$user = ""; //ชื่อผู้ใช้
$password = ""; //รหัสผ่าน
$dbname = "test"; //ชื่อฐานข้อมูล
$tblname = "customer"; //ชื่อตาราง
// เริ่มติดต่อฐานข้อมูล
mysql_connect($hostname, $user, $password) or die("ติดต่อฐานข้อมูลไม่ได้");
// เลือกฐานข้อมูล
mysql_select_db($dbname) or die("เลือกฐานข้อมูลไม่ได้");
// คำสั่ง SQL และสั่งให้ทำงาน
$sql = "select * from $tblname";
$dbquery = mysql_db_query($dbname, $sql);
// หาจำนวนเรกคอร์ดข้อมูลในตาราง
$num_rows = mysql_num_rows($dbquery);
// เริ่มวนรอบแสดงข้อมูล
$i=0;
while ($i < $num_rows)
{
$result = mysql_fetch_array($dbquery);
$id = $result[id];
$name = $result[name];
echo "($id) คุณ <font color=\"#FF0000\">$name</FONT>
<A HREF=\"edit.php?id=$id\">แก้ไขข้อมูล</A><BR>";
//กำหนด Link ไปที่ไฟล์ที่เราจะแก้ไข
$i++;
}
// ปิดการติดต่อฐานข้อมูล
mysql_close();
?> |
3. หลังจากนั้นเราสร้าง Form ขึ้นมาตั้งชื่อไฟล์ให้ตรงกับไฟล์ที่เรา link มาใรที่นี้ผมให้ชื่อไฟล์ว่า
edit.php
4. หลังจากนั้นเขียนโค้ดแทรกเข้าไปในไฟล์ edit.php
ดังนี้
<?php
//กำหนดตัวแปรเพื่อนำไปใช้งาน
$hostname = "localhost"; //ชื่อโฮสต์
$user = ""; //ชื่อผู้ใช้
$password = ""; //รหัสผ่าน
$dbname = "test"; //ชื่อฐานข้อมูล
$tblname = "customer"; //ชื่อตาราง
// เริ่มติดต่อฐานข้อมูล
mysql_connect($hostname, $user, $password) or die("ติดต่อฐานข้อมูลไม่ได้");
// เลือกฐานข้อมูล
mysql_select_db($dbname) or die("เลือกฐานข้อมูลไม่ได้");
// คำสั่ง SQL และสั่งให้ทำงาน
$sql = "select * from $tblname where id=$id";
//ตรงนี้จะเป็นข้อกำหนดให้ดึงข้อมูลตามที่เรากำหนด
$dbquery = mysql_db_query($dbname, $sql);
$result = mysql_fetch_array($dbquery);
$id = $result[id];
$name = $result[name];
$surname = $result[surname];
$address = $result[address];
$tel = $result[tel];
// ปิดการติดต่อฐานข้อมูล
mysql_close();
?>
<html>
<head>
<title>Un title page</title>
<meta http-equiv="Content-Type" content="text/html; charset=windows-874">
<style type="text/css">
<!--
body { margin: 0px 0px; padding: 0px 0px}
a:link { color: #005CA2; text-decoration: none}
a:visited { color: #005CA2; text-decoration: none}
a:active { color: #0099FF; text-decoration: underline}
a:hover { color: #0099FF; text-decoration: underline}
-->
</style>
</head>
<body bgcolor="#FFFFFF">
<table width="100%" border="0" cellspacing="5"
cellpadding="0">
<tr>
<td>
<form name="form1" method="post" action="update.php">
//ข้อมูลจะถูกส่งไปยัง update.php
ลูกค้าคนที่
<input type="text" name="id" value="<?
echo $id;?>">
<br>
ชื่อ
<input type="text" name="name" value="<?
echo $name;?>">
นามสกุล
<input type="text" name="surname" value="<?
echo $surname;?>">
<br>
ที่อยู่ลูกค้า
<input type="text" name="address" value="<?
echo $address;?>">
เบอร์โทร
<input type="text" name="tel" value="<?
echo $tel;?>">
<br>
<input type="submit" name="Submit" value="แก้ไขข้อมูล">
</form>
</td>
</tr>
</table>
</body>
</html>
|
5. หลังจากนั้นเขียนโค้ด Update เพื่อนำข้อมูลที่ผู้ใช้กรอกมาแก้ไขผมาจะเขียนไว้ที่ไฟล์
update.php
<?php
//กำหนดตัวแปรเพื่อนำไปใช้งาน
$hostname = "localhost"; //ชื่อโฮสต์
$user = ""; //ชื่อผู้ใช้
$password = ""; //รหัสผ่าน
$dbname = "test"; //ชื่อฐานข้อมูล
$tblname = "customer"; //ชื่อตาราง
// เริ่มติดต่อฐานข้อมูล
mysql_connect($hostname, $user, $password) or die("ติดต่อฐานข้อมูลไม่ได้");
// เลือกฐานข้อมูล
mysql_select_db($dbname) or die("เลือกฐานข้อมูลไม่ได้");
// คำสั่ง SQL และสั่งให้ทำงาน
$sql = "update $tblname set id=id, name='$name', surname='$surname',
address='$address', tel='$tel' where id=$id";
// กำหนดคำสั่ง SQL เพื่อแสดงข้อมูล
$dbquery = mysql_db_query($dbname, $sql);
echo "<Font Size=4><B>แก้ไขข้อมูลเรียบร้อยแล้ว</B>";
echo "<Br><A Href=\"show.php\"> ดูผลการเปลี่ยนแปลง</A>";
// เครื่องหมาย \ หน้า " ทำให้ไม่เกิด error เมื่อรัน
?> |
6. หลังจากนั้นเราลองทดสอบดูโดยเปิดไฟล์ show.php ขึ้นมาก่อน
7. ขอให้สนุกกับการทำเว็บ
|
|